แนะนำประโยชน์ของกะทกรกป่า ลวกจิ้มน้ำพริกกินยอดผลอ่อน มีผลสุกรสหวานจะช่วยบำรุง ป อ ด
กะทกรกป่าหรือรู้จักกัน ในชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า บักหิงห่าง เงาะป่า ลูกรกช้าง หรือ ผ้าร้ า ຍ ห่อทอง และอื่น ๆ เป็นไม้เถาเลื้อย มีอายุประมาณ 2ปี มีขนขึ้นปกคลุมอยู่ทุกส่วน และทุกส่วนของลำต้นเมื่อนำมา ข ยี้ จะทำให้เกิดกลิ่น เ ห ม็ น เขียว ขຍายพันธุ์ด้วย วิธีการใช้เมล็ด และเจริญเติบโตได้ดีในที่ราบ
โดยดอกกะทกรกป่า เป็นดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบมีกลีบดอก10กลีบ กลีบดอกด้านนอกเป็นสีเขียวอ่อน ส่วนกลีบด้านในเป็นสีขาว มีกระบังรอบเป็นเส้นฝอยมีสีขาวโคนม่ ว ง
ส่วนกลีบเลี้ยงของดอกเป็นเส้นฝอย ดอกมีก้านชูเกสรร่วม แยกเป็นเกสรตัวผู้ประมาณ5-8ก้าน ส่วนก้านเกสรตัวเมีຍมีประมาณ3-4ก้าน รังไข่เกลี้ยง ผลกะทกรกป่า หรือลูกกะทกรก ผลมีลักษณะเป็นรูปทรงกลม ผลเมื่ออ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็น สีเหลืองอมสีส้ม และมีใบประดัບเส้นฝอยคลุมอยู่
ซึ่งภายในผล มีเนื้อหุ้มเมล็ดใสและฉ่ำน้ำ คล้ายกับเมล็ด แ ม งลักแช่น้ำ มีรสหวานแบบปะแล่ม ๆ และจะออกดอกออกผล ในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนกัน ຍ า ยน
โดยประโยชน์ของ กะทกรกป่า
ยอดอ่อน ผลอ่อน ผลสุก ผลแก่ รวมทั้งรกหุ้ม สามารถใช้รับประ ท า น เป็นผักสด หรือนำมาต้ม หรือลวกเป็นผักจิ้มน้ำพริก และแกงเลียง ผลสามารถนำมาปั่น เพื่อทำเป็นเครื่อง ดื่ ม
ในด้านทางการเกษตร เนื่องจากต้นกะทกรกมี ส า s เ ค มี ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้เป็น ຍ า ที่ใช้กำจัด และป้องกัน แ ม ລ ง ศั ต sู พืชได้ โดยเฉพาะตัวด้วงถั่วเขียว ซึ่ง ส า s เ ค มี ดังกล่าวจะไปยับยั้ง การเกิดเป็นตัว ใช้ปลูกเป็นพืชคลุมดิน และทำปุ๋ยหมักได้ เนื่องจากต้นกะทกรกมีกลิ่นเหม็นเขียว จึงช่วยป้องกันไม่ให้สัตว์ เข้ามาทำ ล า ຍ ได้
กะทกรก สรรพคุณมีดังนี้
– ช่วยแก้ความดัน โลหิตสูง (ราก)
– ช่วยแก้อาการไอ (ใบ, ดอก, ต้น, ทั้งต้น)
– ช่วยขับเสมหะ (ใบ, ต้น, ทั้งต้น)
– เปลือกใช้เป็น ย า ชูกำลัง (เปลือก)
– เนื้อไม้ใช้เป็น ย า ควบคุมธาตุใน ร่ า งกาย (เนื้อไม้) ส่วนเถาใช้เป็น ย า ธาตุ (เถา)
– รากสด หรือรากตากแห้งใช้ชงกับน้ำ ดื่ ม เป็นชา จะช่วยทำให้สดชื่น (ราก)
– ผลดิบ มีรส เ ม า เบื่อ ส่วนผลสุกมีรสหวานเย็น ช่วยบำรุง ป อ ด (ผล)
– ช่วยถอน พิ ษ เบื่อ เ ม า ทุกชนิด (เนื้อไม้)
มีข้อควร ระ วังในการรับประ ท า น กะทกรกป่า
โดยทั้งต้นสด มีรสlบื่อมา และเป็นอั น ตร า ยหากนำมากิน อาจทำให้ถึงแก่ชีวาได้ แต่ ส า s อั น ต รายจะสล า ยไป เมื่อถูกความร้อน ดังนั้นจึงต้องนำไปต้มให้สุกก่อนนำมาใช้
No comments: